การสอบปลายภาคเรียน
1.ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยท่านต้องศึกษาในเรื่องใดบ้าง
-การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยต้องศึกษาในเรื่อง
1.)การฟังสำหรับเด็กปฐมวัย
2.)การพูดสำหรับเด็กปฐมวัย
3.)การอ่านสำหรับเด็กปฐมวัย
4.)การเขียนสำหรับเด็กปฐมวัย
5.)การจัดบรรยากาศในการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
2.การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีวัตถุประสงค์อะไร
-เพื่อฝึกให้เด็กได้มีประสบการณ์ในด้านการฟัง และสามารถเข้าใจความหมายของสิ่งที่ได้ยินได้
-เพื่อฝึกให้เด็กได้มีประสบการณ์ในด้านการพูด และช่วยให้เด็กได้แสดงความคิด ความรู้สึก โดยการเชื่อมโยงการพูดกับท่าทางหรือการกระทำต่างๆได้
3.หลักการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีอะไรบ้าง
-จะต้องมีการวางแผนในการจัดประสบการณ์ทางภาษษให้กับเด็ก โดยให้ทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มีความสัมพันธ์กัน และครูยังต้องมีความเข้าใจถึงความแตกต่างในการใช้ภาษาของเด็กแต่ละวัยว่ามีความแตกต่างกันในการใช้ทักษะทางภาษา ครูและผู้ปกครองจึงต้องสร้างเสริมประสบการณ์ทางด้านภาษาให้กับเด็ก โดยการให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลที่หลากหลายและควรหาหนังสือที่หลากหลายให้เด็กได้เรียนรู้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาที่ดีขึ้น
4.ท่านมีแนวทางในการให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาได้อย่างไรบ้าง
-การพูด พ่อแม่หรือผู้ปกครองควรออกเสียงให้ชัดเจน พูดให้ถูกต้องไม่พูดล้อเลียนเสียงเด็กและควรใช้ภาษาที่ซับซ้อนขึ้นตามวัยของเด็กแต่ละวัย
-ควรหาเวลาพูดคุยกับเด็กให้บ่อยๆ เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้คำศัพท์ที่มากขึ้น
-ถ้าเด็กมีข้อบกพร่องในการออกเสียง พ่อแม่หรือผู้ปกครองควรจัดหาวิธีเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในการออกเสียง
-พ่อแม่หรือผู้ปกครองควรให้เวลากับเด็กในการอ่านหนังสือให้เด็กฟัง และระหว่างนั้นควรมีการซักถาม พูดคุยกับเด็ก
-พ่อแม่และผู้ปกครองควรจัดหาหนังสือที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้เด็กได้เรียนรู้จากสื่อที่หลากหลาย
5.ให้ท่านเลือกกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาที่ท่านชอบที่สุดพร้อมให้เหตุผล ชื่อ วัตถุประสงค์ กิจกรรม ประเมินผล
-ชื่อกิจกรรม สนทนายามเช้า
-วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะในการใช้ภาษา
2.เพื่อศึกษาพฤติกรรมของเด็กในการร่วมทำกิจกรรม
3.เพื่อที่จะได้รู้และเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น
-กิจกรรม ให้เด็กเล่าถึงเรื่องราวในการทำกิจวัตรประจำของเด็กแต่ละคนว่าตั้งแต่ตื่นนอนมาทำอะไรบ้าง ทานข้าวกับอะไร ใคร เป็นคนมาส่ง จนกระทั่งมาถึงโรงเรียน เป็นต้น
-ประเมินผล สังเกตจากการร่วมทำกิจกรรม และสังเกตจากการตอบคำถามเล่าเรื่องราวของเด็ก โดยพบว่า เด็กยังคงไม่ค่อยกล้าที่จะพูดคุย เล่าเรื่องราวของตนเองให้กับเราฟัง อาจเนื่องมาจากเด็กยังไม่ไว้ใจและยังไม่คุ้นเคยกับเรา จึงทำให้ขณะที่ร่วมทำกิจกรรมเด็กมีอาการเขินอาย ไม่กล้าพูด เวลาถามก็จะตอบแค่ประโยคสั้นๆ
เกี่ยวกับฉัน
วันอังคารที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
เปลี่ยนบรรยากาศห้องเรียน
วันนี้ย้ายมาเรียนที่ห้อง 236 เนื่องจาก 235 มีการอบรม
อาจารย์พูดเกี่ยวกับภาษา ได้แก่ ฟัง พูด อ่าน เขียน
และการจัดสภาพแวดล้อม ดังนี้
1.จัดแล้วเต็มไปด้วยภาษา เช่น ชื่อมุม ปฏิทิน สมาชิกในห้อง สิ่งที่ตอบสนองแก่เด็กให้เด็กได้เห็นให้เด็กเกิดการเรียนรู้
2.ผ่านตัวอย่าง ครูต้องสาธิตให้เด็กดู
3.ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัย เช่น เปิดเทปให้เด็กฟัง โดยวางที่มุมนิทาน
4.เรียนรู้โดยการรับผิดชอบด้วยกัน
5.ได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติเกิดความกระตือรือร้น
6.เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลอง
จากนั้นเพื่อนก็นำเสนองานที่ไปโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
กลุ่มที่-เล่านิทานจากภาพ
-เล่านิทานให้เด็กรู้จักพยัญชนะต้น สระ
-การปฏิบัติตามคำสั่ง
บรรยากาศในห้องเรียน
1.บรรยากาศร้อนมากเมื่อตอนเข้าไปเรียน
2.ในห้องเรียนไม่สะอาดมีขยะเยอะมากทำให้ส่งกลิ่นเหม็น
3.อาจารย์อธิบายที่เพื่อนนำเสนองานหน้าชั้นเรียนเพิ่มชัดเจน
อาจารย์พูดเกี่ยวกับภาษา ได้แก่ ฟัง พูด อ่าน เขียน
และการจัดสภาพแวดล้อม ดังนี้
1.จัดแล้วเต็มไปด้วยภาษา เช่น ชื่อมุม ปฏิทิน สมาชิกในห้อง สิ่งที่ตอบสนองแก่เด็กให้เด็กได้เห็นให้เด็กเกิดการเรียนรู้
2.ผ่านตัวอย่าง ครูต้องสาธิตให้เด็กดู
3.ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัย เช่น เปิดเทปให้เด็กฟัง โดยวางที่มุมนิทาน
4.เรียนรู้โดยการรับผิดชอบด้วยกัน
5.ได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติเกิดความกระตือรือร้น
6.เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลอง
จากนั้นเพื่อนก็นำเสนองานที่ไปโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
กลุ่มที่-เล่านิทานจากภาพ
-เล่านิทานให้เด็กรู้จักพยัญชนะต้น สระ
-การปฏิบัติตามคำสั่ง
บรรยากาศในห้องเรียน
1.บรรยากาศร้อนมากเมื่อตอนเข้าไปเรียน
2.ในห้องเรียนไม่สะอาดมีขยะเยอะมากทำให้ส่งกลิ่นเหม็น
3.อาจารย์อธิบายที่เพื่อนนำเสนองานหน้าชั้นเรียนเพิ่มชัดเจน
นำเสนอ Power Point
อาจารย์ให้นำเสนอ Power Point หน้าชั้นเรียน
รายงานผลการจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ของแต่กลุ่ม (ที่ยังไม่ได้นำเสนอ)
อาจารย์ให้อธิบายว่า นักศึกษาไม่ควรสรุปพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกเพียงครั้งเดียวที่เห็นแล้วสรุปผลเลยเพราะเด็กอนุบาลจัดกิจกรรมกลุ่มไม่ได้ เพราะเด็กเล็กยังยึดตนเองเป็นศูนย์กลางอยู่การบันทึกเสียงนิทานและของเพื่อนคือ สนุกกับคำสั่งsild สวยดี ตัวหนังสือค่อนข้างเยอะ การนำเสนอของเพื่อน
บรรยากาศในห้องเรียน
1.อาจารย์มีการซักถามพร้อมสอดแทรกในเนื้อหา
2.ในการที่เพื่อนออกมานำเสนองานของแต่ละกลุ่มมีความสนใจมากและได้สื่อทางเทคโนโลยีที่สวยงาม
รายงานผลการจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ของแต่กลุ่ม (ที่ยังไม่ได้นำเสนอ)
อาจารย์ให้อธิบายว่า นักศึกษาไม่ควรสรุปพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกเพียงครั้งเดียวที่เห็นแล้วสรุปผลเลยเพราะเด็กอนุบาลจัดกิจกรรมกลุ่มไม่ได้ เพราะเด็กเล็กยังยึดตนเองเป็นศูนย์กลางอยู่การบันทึกเสียงนิทานและของเพื่อนคือ สนุกกับคำสั่งsild สวยดี ตัวหนังสือค่อนข้างเยอะ การนำเสนอของเพื่อน
บรรยากาศในห้องเรียน
1.อาจารย์มีการซักถามพร้อมสอดแทรกในเนื้อหา
2.ในการที่เพื่อนออกมานำเสนองานของแต่ละกลุ่มมีความสนใจมากและได้สื่อทางเทคโนโลยีที่สวยงาม
สรุปผลการสังเกตเด็ก
นำเสนอการจัดประสบการณ์ทางภาษา (ต่อ) และอาจารย์สรุปผล แนะนำสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพิ่มเติม
วิธีการวัดผลและประเมินผล
1.การสังเกต 2.การสนทนาซักถาม 3.ผลงานที่เด็กทำ
การฟัง ฟังแล้วเข้าใจ สามารถกระทำ ปฏิบัติตามสิ่งที่ได้ฟังมาได้
การพูด พูดแล้วผู้ฟังเข้าใจ รู้เรื่อง มีคำศัพท์ บรรยายได้ตรงกับความเป็นจริง
การอ่าน อ่านแล้วประมวล สามารถโต้ตอบได้
การเขียน สามารถขีดเขี่ย ขีดเขียนได้ตามพัฒนาการ
การจัดสิ่งแวดล้อม
- จัดบรรยากาศให้อบอุ่นทางภาษา
- เด็กเรียนรู้ผ่านตัวอย่าง
- เด็กเรียนรู้ ทำกิจกรรมให้เหมาะสมตามวัย
- ให้เด็กมีความรับผิดชอบร่วมกัน
- ให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความหมาย ลงมือปฏิบัติด้วยความกระตือรือร้น
- เปิดโอกาสให้เด็กได้สะท้อนความคิด สนทนาโต้ตอบ
วิธีการวัดผลและประเมินผล
1.การสังเกต 2.การสนทนาซักถาม 3.ผลงานที่เด็กทำ
การฟัง ฟังแล้วเข้าใจ สามารถกระทำ ปฏิบัติตามสิ่งที่ได้ฟังมาได้
การพูด พูดแล้วผู้ฟังเข้าใจ รู้เรื่อง มีคำศัพท์ บรรยายได้ตรงกับความเป็นจริง
การอ่าน อ่านแล้วประมวล สามารถโต้ตอบได้
การเขียน สามารถขีดเขี่ย ขีดเขียนได้ตามพัฒนาการ
การจัดสิ่งแวดล้อม
- จัดบรรยากาศให้อบอุ่นทางภาษา
- เด็กเรียนรู้ผ่านตัวอย่าง
- เด็กเรียนรู้ ทำกิจกรรมให้เหมาะสมตามวัย
- ให้เด็กมีความรับผิดชอบร่วมกัน
- ให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความหมาย ลงมือปฏิบัติด้วยความกระตือรือร้น
- เปิดโอกาสให้เด็กได้สะท้อนความคิด สนทนาโต้ตอบ
ผลการสังเกตเด็ก
- แต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสังเกตเด็ก จากการได้ไปจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ทางภาษา
- อาจารย์ได้มีการซักถาม และแนะนำการใช้คำถามกับเด็ก การเพิ่มเติมเนื้อหารายละเอียดในการนำเสนอ
- อาจารย์ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของรูปภาพของปริศนาคำทาย
- อาจารย์ได้มีการซักถาม และแนะนำการใช้คำถามกับเด็ก การเพิ่มเติมเนื้อหารายละเอียดในการนำเสนอ
- อาจารย์ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของรูปภาพของปริศนาคำทาย
นิทานปริศนา
อาจารย์ตรวจสอบงานปริศนาคำทาย และอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม
- การทำ Power Point
- การจัดรูปแบบตัวอักษร
- สีพื้นหลัง
- การใส่รูปภาพ
อาจารย์ได้มีการตรวจสอบงานอย่างละเอียดเป็นรายบุคคล ได้มีการชี้แจงสิ่งที่ต้องแก้ไข และเพิ่มเติม อธิบายรูปแบบผลงานโดยรวมว่าต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง ซึ่งอาจารย์ได้มีการยกตัวอย่างให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถามข้อสงสัย ทำให้บรรยากาศในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ ทุกคนตั้งใจรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับงาน
- การทำ Power Point
- การจัดรูปแบบตัวอักษร
- สีพื้นหลัง
- การใส่รูปภาพ
อาจารย์ได้มีการตรวจสอบงานอย่างละเอียดเป็นรายบุคคล ได้มีการชี้แจงสิ่งที่ต้องแก้ไข และเพิ่มเติม อธิบายรูปแบบผลงานโดยรวมว่าต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง ซึ่งอาจารย์ได้มีการยกตัวอย่างให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถามข้อสงสัย ทำให้บรรยากาศในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ ทุกคนตั้งใจรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับงาน
การจัดกิจกรรมประสบการณ์ทางภาษา
อาจารย์ได้มีการอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในการทำปริศนาคำทาย มีนักศึกษาบางคนยังทำมาไม่ค่อยถูก ซึ่งอาจารย์ได้แนะนำแนวทางเพิ่มเติม และให้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง ครบถ้วนวันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2553
1. อาจารย์ให้จัดทำตารางการจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ทางภาษา
- ชื่อและรายละเอียดกิจกรรม
- ผู้รับผิดชอบ
- วัน/เวลาที่ใช้จัด
และอาจารย์ให้สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรม
2. อาจารย์ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดทำปริศนาคำทาย และแนะนำ อธิบายเพิ่มเติม
3. บรรยากาศในการเรียนการสอน
1. อาจารย์ให้จัดทำตารางการจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ทางภาษา
- ชื่อและรายละเอียดกิจกรรม
- ผู้รับผิดชอบ
- วัน/เวลาที่ใช้จัด
และอาจารย์ให้สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรม
2. อาจารย์ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดทำปริศนาคำทาย และแนะนำ อธิบายเพิ่มเติม
3. บรรยากาศในการเรียนการสอน
วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ 2552
อาจารย์สั่งงานว่าจะให้นักศึกษาจับกลุ่มวันละ3คน ไปเล่านิทานตอนเช้าให้เด็กฟังที่สาธิตอนุบาลจันทรเกษม ให้วางแผน จดบันทึก และถ่ายรูป (บันทึกลงบล็อก) รายละเอียดต้องมีการเตรียมตัวให้พร้อมควรที่จะเลือกเรื่องแบบไหนเล่าเรื่องอะไร หน่วยที่จะเล่า เป็นต้นบรรยากาศในห้องเรียนบรรยากาศเย็นสบาย เรียนแบบสบายๆ มีการถามตอบแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน
อาจารย์สั่งงานว่าจะให้นักศึกษาจับกลุ่มวันละ3คน ไปเล่านิทานตอนเช้าให้เด็กฟังที่สาธิตอนุบาลจันทรเกษม ให้วางแผน จดบันทึก และถ่ายรูป (บันทึกลงบล็อก) รายละเอียดต้องมีการเตรียมตัวให้พร้อมควรที่จะเลือกเรื่องแบบไหนเล่าเรื่องอะไร หน่วยที่จะเล่า เป็นต้นบรรยากาศในห้องเรียนบรรยากาศเย็นสบาย เรียนแบบสบายๆ มีการถามตอบแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน
นำเสนองานต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
กลุ่มที่4 การสอนภาษาแบบองค์รวมการสอนภาษาแบบองค์รวม เป็นปรัชญาแนวคิดความเชื่อที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ เป็นการสอนที่เน้นพัฒนาการทุกๆด้าน ทั้งการ ฟัง พูด อ่าน เขียน สิ่งสำคัญในการสอนภาษาแบบองค์รวมคือต้องพัฒนาให้เข้ากับผู้เรียนเป็นสำคัญ
กลุ่มที่5 การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กการจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก ควรคำนึงถึงเด็กเป็นสำคัญ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กในการจัดควรจัดให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กแสดงออกผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ จัดให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ทางภาษาหลักการจัดประสบการณ์ เป็นวิธีที่เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ให้เด็กลงมือกระทำ
ทางด้านจิตวิทยาเป็นการทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลง คือการได้ทดลองปฏิบัติ ต้องเป็นการปฏิบัติที่เป็นไปตามธรรมชาติ คือ มีอิสระ สนุกสนาน ไม่มีกรอบ เป้นการจัดบนพื้นฐานความสนุกสนาน ไม่มีขอบเขตบังคับบรรรยากาศในการเรียนการนำเสนองานวันนี้มีข้อผิดพลาด คือ ปัญหาของคำควบกล้ำ ในการนำเสนอ ต้องพยายามฝึก น้ำเสียง คำพูด ภาษา อากาศในห้องเย็นสบาย
กลุ่มที่4 การสอนภาษาแบบองค์รวมการสอนภาษาแบบองค์รวม เป็นปรัชญาแนวคิดความเชื่อที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ เป็นการสอนที่เน้นพัฒนาการทุกๆด้าน ทั้งการ ฟัง พูด อ่าน เขียน สิ่งสำคัญในการสอนภาษาแบบองค์รวมคือต้องพัฒนาให้เข้ากับผู้เรียนเป็นสำคัญ
กลุ่มที่5 การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กการจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก ควรคำนึงถึงเด็กเป็นสำคัญ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กในการจัดควรจัดให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กแสดงออกผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ จัดให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ทางภาษาหลักการจัดประสบการณ์ เป็นวิธีที่เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ให้เด็กลงมือกระทำ
ทางด้านจิตวิทยาเป็นการทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลง คือการได้ทดลองปฏิบัติ ต้องเป็นการปฏิบัติที่เป็นไปตามธรรมชาติ คือ มีอิสระ สนุกสนาน ไม่มีกรอบ เป้นการจัดบนพื้นฐานความสนุกสนาน ไม่มีขอบเขตบังคับบรรรยากาศในการเรียนการนำเสนองานวันนี้มีข้อผิดพลาด คือ ปัญหาของคำควบกล้ำ ในการนำเสนอ ต้องพยายามฝึก น้ำเสียง คำพูด ภาษา อากาศในห้องเย็นสบาย
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองาน...สรุปใจความสำคัญไว้ ดังนี้...
กลุ่ม1. ความหมายของภาษาภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร มี2 ประเภท คือ วัจนภาษา และอวัจนภาษาวัจนภาษา คือ ภาษาที่เป็นถ้อยคำ การพูด ส่วนอวัจนภาษาเป็นภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำ นอกเหนือการใช้คำพูด ในการจัดประสบการณ์ทางภาษา เป็นเครื่องมือของการคิด การแสดงออกถึงความต้องการให้สื่อถึงความเข้าใจกัน
กลุ่ม2 ทฤษฏีทางสติปัญญาเพียเจต์ กล่าวว่า การเรียนรู้ของเด็กเรียนรู้ผ่านระบบประสาท การขยายโครงสร้าง การปรับเข้าสู้โครงสร้างบรูเนอร์ แบ่งการเรียนรู้เป็น 3 ขั้น คือ ขั้นการเรียนรู้การกระทำขั้นการเรียนรู้ด้วยภาพและจินตนาการขั้นการเรียนรู้ด้วยสัญลักษณ์การเรียนรู้จะเกิดก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
กลุ่ม3 จิตวิทยาการเรียนรู้การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญและจำเป็นในการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สำหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้๑. ด้านพุทธิพิสัย ๒. ด้านเจตพิสัย ๓. ด้านทักษะพิสัยองค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมา๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคล
กลุ่ม4 การสอนภาษาแบบองค์รวมเป็นการสอนภาษาที่เป็นไปตามธรรมชาติ ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ภาษาของตนเองอย่างอิสระ เน้นการการนำรวมวรรณกรรมต่างๆที่ดีมาเป็นสื่อการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ที่หลาหหลาย หลักการสอนให้เด็กเห็นภาพจริงและของจริงบรรยากาศในการเรียนวันนี้มีการเรียนแบบการออกมารายงานหน้าชั้นเป็นกลุ่ม อากาศในห้องเย็นสบาย
กลุ่ม1. ความหมายของภาษาภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร มี2 ประเภท คือ วัจนภาษา และอวัจนภาษาวัจนภาษา คือ ภาษาที่เป็นถ้อยคำ การพูด ส่วนอวัจนภาษาเป็นภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำ นอกเหนือการใช้คำพูด ในการจัดประสบการณ์ทางภาษา เป็นเครื่องมือของการคิด การแสดงออกถึงความต้องการให้สื่อถึงความเข้าใจกัน
กลุ่ม2 ทฤษฏีทางสติปัญญาเพียเจต์ กล่าวว่า การเรียนรู้ของเด็กเรียนรู้ผ่านระบบประสาท การขยายโครงสร้าง การปรับเข้าสู้โครงสร้างบรูเนอร์ แบ่งการเรียนรู้เป็น 3 ขั้น คือ ขั้นการเรียนรู้การกระทำขั้นการเรียนรู้ด้วยภาพและจินตนาการขั้นการเรียนรู้ด้วยสัญลักษณ์การเรียนรู้จะเกิดก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
กลุ่ม3 จิตวิทยาการเรียนรู้การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญและจำเป็นในการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สำหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้๑. ด้านพุทธิพิสัย ๒. ด้านเจตพิสัย ๓. ด้านทักษะพิสัยองค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมา๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคล
กลุ่ม4 การสอนภาษาแบบองค์รวมเป็นการสอนภาษาที่เป็นไปตามธรรมชาติ ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ภาษาของตนเองอย่างอิสระ เน้นการการนำรวมวรรณกรรมต่างๆที่ดีมาเป็นสื่อการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ที่หลาหหลาย หลักการสอนให้เด็กเห็นภาพจริงและของจริงบรรยากาศในการเรียนวันนี้มีการเรียนแบบการออกมารายงานหน้าชั้นเป็นกลุ่ม อากาศในห้องเย็นสบาย
วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)